เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile แก้ปัญหาการทรุดได้จริงหรือไม่

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile แก้ปัญหาการทรุดได้จริงหรือไม่ อุตสาหกรรมก่อสร้างจัดเป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในประเทศ โดยเกี่ยวกับข้องกับผู้ประกอบการที่ต้องการสร้างโรงงานใหม่ และการจ้างงานจำนวนมากในแต่ละ ซึ่งผลผลิตที่ได้ประกอบด้วยสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต เช่น ที่อยู่อาศัย โรงงาน โรงเรียน สถานที่สาธารณะ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าอุตสาหกรรมก่อสร้างถึงมีความสำญมาก ทั้งนี้ในการก่อสร้างพื้นที่ต่าง ๆ ออกมานั้นต้องได้รับการออกแบบจากผู้เชี่ยวชาญเป็นอย่างดี … Read More

จะดีกว่าไหม ถ้าเลือกใช้เสาเข็มที่ได้มาตรฐาน มอก. เสริมฐานรากเพื่อป้องกันการทรุดตัวในอนาคต

จะดีกว่าไหม ถ้าเลือกใช้เสาเข็มที่ได้มาตรฐาน มอก. เสริมฐานรากเพื่อป้องกันการทรุดตัวในอนาคต เสาเข็ม คือ ส่วนประกอบของโครงสร้างที่อยู่ใต้สุดของอาคาร มีลักษณะเป็นท่อนฝังในดินเชื่อมต่อกับฐานราก ทำหน้าที่รับน้ำหนักทั้งหมดของโครงสร้าง หากไม่มีเสาเข็มค่อยรับน้ำหนักของโครงสร้างอาคาร แล้ววางแค่ตัวอาคารไว้เพียงอย่างเดียวจะทำให้ดินทรุดตัวลงไปเรื่อย ๆ แต่ถ้าอาคารมีเสาเข็มก็จะช่วยให้เกิดแรงต้านน้ำหนักได้ สามารถช่วยชะลอการทรุดตัวของโครงสร้างไว้ได้นาน เสาเข็มที่จะนำมาใช้ในงานเสริมฐานรากอาคารประเภทต่าง ๆ ตั้งแต่อาคารขนาดเล็ก ขนาดกลาง จนไปถึงขนาดใหญ่ ต้องมีความมั่นคงแข็งแรงสูง … Read More

เลือกเสาเข็มต่อเติมอาคาร ประหยัดเวลาในการติดตั้ง และสามารถรับน้ำหนักได้ทันที

เลือกเสาเข็มต่อเติมอาคาร ประหยัดเวลาในการติดตั้ง และสามารถรับน้ำหนักได้ทันที การก่อสร้างเพื่อต่อเติมอาคารอย่าลืมว่าต้องคำนึงถึงผลกระทบของส่วนโครงสร้างเดิม เพราะถ้าวางแผนอย่างไม่ถูกต้องแทนที่่จะได้ต่อเติมกลับต้องมานั่งซ่อมแซมโครงสร้างเดิม เสียทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ดังนั้นเพื่อไม่ให้การต่อเติมอาคารมีผลกระทบต่อการใช้งานในระยะยาว ควรจะให้ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรเป็นผู้ออกแบบวางแผนการต่อเติม เพื่อป้องกันการทรุดตัวของโครงสร้างในอนาคต ทั้งนี้เสาเข็มที่เลือกใช้ควรมีเครื่องหมายมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 เพื่อให้แน่ใจว่าสามารถรับน้ำหนักของโครงสร้างทั้งหมดได้เป็นอย่างดี ภูมิสยามขอแนะนำ “เสาเข็มสปันไมโครไพล์” เสาเข็มมีลักษณะเป็นรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการระบายดิน และมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคนกรีตโดยรอบ เพื่อให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแรง นอกจากนี้ยังประหยัดเวลาในการติดตั้ง … Read More

สำรวจลักษณะของพื้นดินก่อนก่อสร้าง เพื่อป้องกันการทรุดตัวแก่โครงสร้าง

สำรวจลักษณะของพื้นดินก่อนก่อสร้าง เพื่อป้องกันการทรุดตัวแก่โครงสร้าง ฐานรากถือเป็นส่วนสำคัญที่สุดของโครงสร้างง และต้องให้ความสำคัญและใส่ใจเป็นพิเศษ หากไม่สามารถรับน้ำหนักของโคงสร้างได้จะเกิดความเสียหายเป็นอย่ามากกับการก่อสร้าง จึงต้องออกแบบฐานรากให้แข็งแรง ให้มีความเพียงพอที่จะรับน้ำหนักทั้งหมดของโครงสร้างได้ ทั้งนี้การจะก่อสร้างได้นั้น เพื่อให้ได้ฐานรากที่แข็งแรง ควรเจาะสำสภาพของดินดูว่าสามารถรองรับการสร้างอาคารได้หรือไม่ เพราะสภาพของชั้นดิน ณ บริเวณที่ตั้งของอาคารที่เราต้องการทำการออกแบบนั้นจะมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงระดับค่าความรุนแรงของการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวได้ เช่น ชั้นดินอ่อนในเขต กทม จะมีคุณสมบัติที่จะขยาย (AMPLIFY) ขนาดของคลื่นแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวที่จะเดินทางมาจากแหล่งต้นกำเนิดแผ่นดินไหว หรือ … Read More

ในงานตอกเสาเข็ม LAST 10 BLOW COUNT ถือเป็นเรื่องสำคัญที่ควรใส่ใจเป็นอันดับแรก

โดยปกติถ้าเป็นดินที่อยู่แถวกรุงเทพฯ ซึ่งจะเป็นดินอ่อน การจะตอกเสาเข็มให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งได้ก็จะต้องตอกให้ลึกประมาณ 21 เมตร หากใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ก็จะต้องใช้เสาเข็ม 14 ท่อนในการตอก 1 ต้น แต่เนื่องจากว่าหน้าดินของแต่ละที่ไม่เหมือนกันดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่เป็นมาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ วิธีที่นิยมใช้ก็คือการนับโบว์เคาท์ Last 10 Blow Count หมายถึงระยะจมของเสาเข็มในการทดสอบด้วยการตอก 10 ครั้ง ซึ่งจะต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่คำนวณได้จึงจะผ่านเกณฑ์ … Read More

ลักษณะของปั้นจั่นสำหรับตอกเสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์

ลักษณะของปั้นจั่นสำหรับตอกเสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ของ ภูมิสยามซัพพลาย นั้นมีความยาวแนวราบ 3 เมตร  และมีความสูง 3 เมตร ส่วนของความกว้างของปั่นจั่นมีความกว้างเพียงแค่ 1 เมตรเท่านั้น จึงเหมาะอย่างยิ่งที่จะเข้าทำงานในพื้นที่จำกัดได้โดยสะดวก ความยาวในแนวราบ 3 m ความสูง 3 m ความกว้าง 1 m ลูกตุ้มมีน้ำหนัก … Read More

จะสร้างบ้านทั้งที ควรตอกเสาเข็มให้ลึกเท่าไหร่ บ้านถึงจะไม่ทรุด

ความสำคัญของเสาเข็ม เสาเข็มเป็นชิ้นส่วนที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของโครงสร้างบ้าน เป็นส่วนประกอบของฐานรากซึ่งจะฝังตัวอยู่ในดินเพื่อทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบ้านทั้งหลัง หากว่าเราสร้างบ้านแล้วไม่ได้ลงเสาเข็มไว้ น้ำหนักของตัวบ้านก็จะกดทับผิวดินด้านบนให้ค่อยทรุดตัวลงทีละนิดจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างบ้านได้ เสาเข็มช่วยแก้ปัญหาบ้านทรุดได้ยังไง เสาเข็มรับน้ำหนักได้อย่างไร? เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักที่กดทับได้ด้วยแรง 2 ชนิดหลักๆ คือ แรงเสียดทานที่ผิวของเสาเข็ม (Skin Friction) คือแรงต้านที่เกิดจากแรงเสียดทานระหว่างผิวของเสาเข็มกับดินโดยรอบ ซึ่งแรงที่เกิดขึ้นนี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของดินและลักษณะของเสาเข็มแต่ละประเภท แรงต้านที่ปลายเสาเข็ม (End Bearing) คือแรงต้านที่เกิดขึ้นบริเวณปลายเสาเข็ม … Read More

คุณสมบัติของคอนกรีตที่ใช้ผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE)

คุณสมบัติของคอนกรีตที่ใช้ผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) หินและทราย: ตรวจสอบ GRADATION ตามข้อกำหนดของมวลรวมผสม มอก.398-2524 ปูนซิเมนต์ปอร์ตแลนด์: ตามข้อกำหนดของ ASTM DESIGNATION c150 TYPE1 หรือ TYPE3 หรือตามข้อกำหนด มอก.15-2524/2517 ประเภท1 หรือประเภท3 … Read More

ขั้นตอนและวิธีการตอกเสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE)

ขั้นตอนและวิธีการตอกเสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ภูมิสยามซัพพลาย มีกระบวนการดังนี้ ย้ายตัวปั่นจั่นให้เข้าที่ เพื่อให้ตรงกับตำแหน่งที่จะทำการลงเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และหลังจากนั้นจะทำการทดสอบโดยการทิ้งลูกดิ่งเพื่อหาจุดศูนย์กลางว่าได้ระยะดิ่งตรงกลางระหว่าง cap pile กับหมุดศูนย์ที่กำหนดไว้หรือไม่ ทิ้งลูกดิ่งเพื่อหาจุดศูนย์กลางว่าได้ระยะดิ่งตรงกลางระหว่าง cap pile กับหมุดศูนย์ที่กำหนดไว้หรือไม่ นำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ท่อนแรกไปวางในตำแหน่งที่กำหนดไว้ พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้องโดยการจับระดับด้วยมาตรวัดระดับน้ำเพื่อให้ได้แนวดิ่ง ทั้งแกน x และ … Read More

การตอกเสาเข็มไมโครไพล์ ให้ลึกถึงระดับมาตรฐาน (BLOW COUNT)

การจะดูว่าการตอกเสาเข็มในแต่ละจุดว่าเสร็จสิ้นเรียบร้อยตามมาตรฐานที่กำหนดหรือไม่นั้น มิใช่ดูแต่เพียงว่าเสาเข็มตอกจมมิดลงไปในดินเท่านั้น แต่จะต้องดูจำนวนครั้งในการตอกด้วย (Blow Count) ว่าเสาเข็มแต่ละต้นใช้จำนวนครั้งในการตอกเท่าใดจนเสาเข็มจมมิดดิน ถ้าจำนวนครั้งในการตอกน้อยเกินไป คือสามารถตอกลงไปได้ง่าย แสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักยังไม่เพียงพอ อาจจะต้องมีการต่อเสาเข็มและตอกเพิ่มลงไปอีกจนกว่าจำนวนครั้งในการตอกจะเป็นไปตามที่กำหนด ในทางตรงกันข้ามถ้าจำนวนครั้งในการตอกมากเพียงพอแล้วแม้ว่าเสาเข็มที่ตอกนั้นจะยังจมไม่มิดก็อาจแสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักเพียงพอแล้ว ไม่จำเป็นจะต้องตอกต่อลงไปอีก เพราะการฝืนตอกต่อไปอาจทำให้เสาเข็มแตกหักหรือชำรุดได้ ส่วนจำนวนครั้งในการตอกเสาเข็มแต่ละต้นควรจะเป็นเท่าใดนั้นวิศวกรจะเป็นผู้กำหนด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิด ขนาดของพื้นที่หน้าตัดเสาเข็ม และความยาวของเสาเข็มนั้น ๆ  

1 2